ภาวะสายตาผิดปกติ


                ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสายตา (Refractive error)
1.ส่วนที่ทำหน้าที่ในการหักเหแสง นั่นคือกระจกตา (Cornea) และเลนส์แก้วตา (Crystalline lens)
2.ขนาดของลูกตา
                โดยความไม่สมดุลของปัจจัยจะทำให้เกิดภาวะความผิดปกติคือ

 

 

http://theworldmedicalcenter.com/th/new_site/health_article

(คลิกเพิ่อดูรูปภาพข้างบนอีกครั้ง)

สายตาสั้น (Myopia) ภาวะที่แสงจากระยะอนันต์หักเหตกลงหน้าจอตา ทำให้มองไกลไม่ชัด

สายตายาว (Hyperopia) ภาวะที่แสงจากระยะอนันต์หักเหตกลงหลังจอประสาทตา ทำให้มองใกล้ไม่ชัด

สายตาเอียง (Astigmatism) ภาวะที่มีการหักเหของแสงในแต่ละแนวไม่เท่ากัน ทำให้ภาพไม่ชัดในทุกระยะการมอง

สายตายืด (Presbyopia) เกิดจากความสามารถในการยืดหยุ่นของเลนส์ในตาลดลงเมื่ออายุมากขึ้น ทำให้มองใกล้ไม่ชัด

 

ระดับของสายตา                                                                  

 

น้อย

ปานกลาง

มาก

สั้น

          100 – 300

300 - 600

600 ขึ้นไป

ยาว

100 – 300

300 – 600

600 ขึ้นไป

เอียง

น้อยกว่า 100

100 – 300

300 ขึ้นไป

                                                                               

 

 

การรักษาสายตาผิดปกติ

  1. รักษาโดยการไม่ผ่าตัด นิยม ใส่แว่นตา คอนแทคเลนส์
  2. รักษาโดยการผ่าตัด มักทำในผู้ป่วยที่ไม่ต้องการใส่แว่นและมีปัญหาจากการใส่คอนแทคเลนส์ หรือสานตาผิดปกติมาก

 

http://www.beautifuloptic.co.th/html/html/optc_eye_cure.htm

 

http://www.thaihealth.or.th/Content/27534

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเลือกแว่นตา คลิกที่รูปภาพ

 

http://lasik-thai.blogspot.com/2009/11/blog-post.html

กลับหน้าหลัก

อ้างอิงข้อมูล

  • ทีมจักษุแพทย์ โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน. (2547). รอบรู้เรื่องตา. กรุงเทพ. เรือนปัญญา.
  • เปรมจิต เศาญานนท์และคณะ. (2559). จักษุจุฬา. กรุงเทพ. ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.